กำลังโหลดข้อมูล

คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

มิวเซียมไทยแลนด์

  1. หน้าแรก
  2.    >   มิวเซียมไทยแลนด์
  3.    >   สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)

24 ธันวาคม 2562

ชื่นชอบ 732

8,665 ผู้เข้าชม

แกลเลอรี

ข้อมูลพิพิธภัณฑ์

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)  

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

บริหารจัดการ

องค์การมหาชน/องค์กรมหาชน

ประเภทพิพิธภัณฑ์

เกษตร, วิทยาศาสตร์, การแพทย์, เทคโนโลยี, ชีวิตและธรรมชาติ

พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง

แผนที่

ที่อยู่และเบอร์ติดต่อ

เลขที่ 260 หมู่ 4 ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180
โทรศัพท์ : 053-121 268-9
โทรสาร : 053-121 250
เว็บไซต์ : http://www.narit.or.th
อีเมล : info@narit.or.th

วันและเวลาทำการ

วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 16.30 น. 

เนื้อหาสำหรับประชาชนทั่วไป

เหมาะสม
ไม่เหมาะสม

เนื้อหาสำหรับเด็ก

เหมาะสม
ไม่เหมาะสม

รับบัตรเครดิต

รับ
ไม่รับ

5

แบ่งปัน

กิจกรรม

28 พ.ย. 2562

30 พ.ย. 2562

26 พฤศจิกายน 2562
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)  ชวนจับตาปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน ส่งท้ายเดือนพฤศจิกายน  ระหว่างวันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2562 เวลาประมาณ 18.00 น. เป็นต้นไป ------------------------ ชมดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ และดาวเสาร์ เคียงดวงจันทร์เสี้ยว ตามลำดับ  พร้อมกับปรากฏการณ์แสงโลกหลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้  โดยสังเกตได้ด้วยตาเปล่าทุกพื้นที่ทั่วประเทศ...

01 ต.ค. 2562

31 ต.ค. 2562

02 ตุลาคม 2562
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(สดร.) ชวนคนไทย #โหวตชื่อไทยให้ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ  ชูความเป็นไทยร่วมเป็นหนึ่งในเอกภพ  #พร้อมลุ้นรับของที่ระลึกสุดเอกคลูซีฟ    โดยผลการพิจารณาตัดสินคู่ชื่อดาวฤกษ์แม่ - ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ หลังจากคณะกรรมพิจารณารายชื่อกันอย่างเข้มข้น จาก 1,500 กว่ารายชื่อ เราก็ได้ชื่อที่ผ่านเข้ารอบ ดังนี้ (1) #เจ้าพระยา (Chao Phraya) – #แม่ปิง (Mae Ping)แนวคิดการตั้งชื่อ : เนื่องจากดาวทั้งสองอยู่ในกลุ่มดาวแม่น้ำ และแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแม่น้ำสายหลักของประเทศไทยซึ่งเกิดจากการไหลรวมของแม่น้ำแม่ปิง วัง ยม และน่าน ในอนาคตหากพบดาวเคราะห์เพิ่มเติมก็สามารถตั้งชื่อเป็นแม่น้ำสายอื่นๆ ได้อีก(2) #ประกายแก้ว (Prakaikaeo) - #ประกายดาว (Prakaidao)แนวคิดการตั้งชื่อ : ประกายเเก้ว คือเเสงของความเเวววาวที่กระจายออกไปโดยรอบ เปรียบเสมือนดาวฤกษ์ ส่วนประกายดาว เปรียบเป็นแสงสะท้อนจากดาวฤกษ์ที่ตกกระทบดาวเคราะห์ที่โคจรและปรากฏให้เห็นเคียงคู่กัน(3) #ฟ้าหลวง (Fahluang) - #ฟ้าริน (Fahrin)แนวคิดการตั้งชื่อ : เนื่องจากเป็นวัตถุที่เราสังเกตไปในท้องฟ้าจึงใช้คำว่า "ฟ้า" นำ ส่วนคำว่าหลวงหมายถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่ ฟ้าหลวงจึงหมายถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่และเจิดจรัสบนท้องฟ้า จึงเหมาะสมต่อการตั้งเป็นชื่อดาวฤกษ์ ส่วนคำว่าฟ้าริน หมายถึงหยาดน้ำฟ้าหรือสิ่งที่รินไหลลงมาจากฟากฟ้า เป็นตัวแทนของดาวเคราะห์บริวารของฟ้าหลวง   ** มาร่วมโหวตเฟ้นหาชื่อที่จะเป็นตัวแทนชื่อไทย ชูความเป็นไทยร่วมเป็นหนึ่งในเอกภพกันได้ที่http://bit.ly/VoteNameExoWorldsTH    ภายใต้เงื่อนไข 1 คน 1 สิทธิ์โหวต พร้อมลุ้นรับของที่ระลึกสุดคลู จำนวนจำกัดเพียง 10 รางวัล โหวตได้ตั้งแต่บัดนี้ - วันที่ 31 ตุลาคม 2562   *** สอบถามเพิ่มเติม โทร. 053-121 268 ต่อ 210-212 หรือ 081-885 4353 ** หรือ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ Fan Page

17 พ.ย. 2561

31 ม.ค. 2562

15 พฤศจิกายน 2561
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ  ชวนดูดาว#ทุกคืนวันเสาร์    เรามีนัดกันที่หอดูดาวพบกับกิจกรรม NARIT Public Night    พบกันได้ที่   หอดูดาว อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา นครราชสีมา   สำหรับวัตถุท้องฟ้าน่าสนใจสัปดาห์นี้ ยังคงมี #ดาวพุธ #ดาวเสาร์ #ดาวอังคาร #กระจุกดาวคู่ #กระจุกดาวลูกไก่ #กาแล็กซีแอนโดรเมดา #เนบิวลานายพราน พร้อมสังเกตการณ์กลุ่มดาวในฤดูหนาว ฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่าย แล้วพบกันครับ
pav

/

next

พิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง